-
Section:
News -
-
สอนภาษาญี่ปุ่น
มาถึงตอนที่ 7 กันแล้วนะครับ สำหรับคอลัมน์สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ N 5 ในปีนี้ถือเป็นปีแรกที่สอบในระบบใหม่ ผู้เรียนหลายคนอาจจะตื่นเต้น และยังไม่รู้ว่าจะเริ่มอ่านหนังสือยังไงดี อาจารย์ แนะนําให้อย่าตื่นเต้นนะครับ ภาษาญี่ปุ่นยังไงก็คือภาษาญี่ปุ่น ถึงรูปแบบข้อสอบบางส่วนจะเปลี่ยน แต่หลักไวยากรณ์ คําศัพท์ รวมถึงคันจิก็ยังเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนไป ส่วนที่เหลือเราก็ต้องไปเตรียมตัวฝึกทําข้อสอบในรูปแบบใหม่ ทีนี้ถึงรูปแบบข้อสอบจะเปลี่ยนไป แต่เราก็สามารถสอบผ่านได้อย่างสบายนะครับ เรามาดูข้อสอบในระดับ N5 กันนะครับว่า จะมีไวยากรณ์ในรูปแบบไหนกันบ้าง ไปดูกันเลย
สอนภาษาญี่ปุ่นระดับN5 ตอนที่ 7 Update 1/5/2010
|
ไวยากรณ์นี้ เป็นหนึ่งในไวยากรณ์ที่ใช้บ่อยๆ ในระดับ N5 นะครับ ซึ่งจะใช้ไปจนถึงในระดับ N4 ด้วย นั่นก็คือไวยากรณ์ ~てほしいซึ่งจะใช้บ่อยมากในภาษาพูด และข้อสอบที่ออกมาบ่อยๆในส่วนของ เนื้อเรื่อง
~てほしい= อยากให้ทำ ( เป็นการอยากให้อีกฝ่ายที่ไม่ใช่เราทำ)
|
~てほしい บางคนไปสับสนกับ N+がほしい ซึ่งอาจารย์เน้นเสมอว่า N+がほしい คือการอยากได้ สิ่งของนั้นๆที่เป็นคำนาม ซึ่งเป็นการอยากได้ของ ตัวเราเอง และ บุคคลที่สอง ซึ่งถ้าเป็นการอยากได้คำนามของบุคคลที่สามที่เรากล่าวถึงจะใช้ ほしがるซึ่งจะอยู่ในบทที่ผ่านมาแล้ว ส่วน ไวยากรณ์
V+てほしいที่เราจะมาเรียนในวันนี้ จะมีความหมายว่า อยากให้บุคคลซึ่งไม่ใช่ตัวเองทำกริยานั้นๆ เราลองไปดูตัวอย่างประโยคกันนะครับ
例1.お母
|
สวัสดีครับ กลับมาพบกับคอลัมน์สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ 4 นะครับ มีหลายคนอีเมล์มาสอบถามอาจารย์ว่าอยากจะอ่านคอลัมน์สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ 4 ต่อ เพราะติดตามอ่านอยู่ตลอด ซึ่งมีอีเมลมาอย่างมากมาย อาจารย์ก็ดีใจนะครับที่มีคนติดต่ามอ่านคอมลัมน์มากขนาดนี้ คอลัมน์สอนภาษาญี่ปุ่นยังไม่ไปไหนนะครับ ยังจะอยู่ให้ความรู้อยู่ที่นี่ ต่อไปเรื่อยๆ และอาจารย์ก็จะพยายามมาอัฟเดทบ่อยๆ เพื่อทุกๆคนที่ศึกษาภาษาญี่ปุ่นนะครับ
สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ N5 ตอนที่ 4
|
***จากประสบการณ์ในการสอนของอาจารย์พบว่า ส่วนใหญ่แล้ว นักเรียนจะผันกริยาให้เป็นรูป て、たไม่ค่อยคล่องกัน ซึ่งรูปて、たนี้เป็นรูปที่ถือว่าเป็นพื้นฐานอย่างมากในภาษาญี่ปุ่น ถ้าผันไม่ได้ การเรียนต่อยอดไปก็จะลําบากนะครับ
ดังนั้นอาจารย์จึงสรุปหลักการผันกริยาให้เป็นรูป て、たมาให้ดูและท่องจำให้ขึ้นใจกันอีกทีนะครับ
หลักการผันกริยาให้เป็นรูป て, たในกรณีที่เป็น V 1
V ที่ลงท้ายด้วย う,つ,る+っ+て/たเช่น まつàまって、まった
V ที่ลงท้ายด้วย く,ぐ+い+て/たเช่น みがくàみがいて、みがいた
V ที่ลงท้ายด้วย ぬ,ぶ,む+ん+で/だเช่น よむàよんで、よんだ
V ที่ลงท้ายด้วยすà Vます+て/たเช่น はなすàはなして、はなした
**หมายเหตุ ถ้า V ลงท้ายด้วย ぐจะต้องเปลี่ยนจาก て,たà で,だ
|
หลักการผันกริยาให้เป็นรูป て, たในกรณีที่เป็น V 1กันไปแล้ว คราวนี้เรามาลองมาฝึกผันกันดูเลยนะครับ
書(
Tags: สอนญี่ปุ่นN5อาจารย์แบงค์ | สอนภาษาญี่ปุ่นN5ตอนที่7 | สอนภาษาญี่ปุ่นในเวป
แก้ไขล่าสุด ใน วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน 2011 เวลา 15:41 น.