-
Section:
News -
-
สอนภาษาญี่ปุ่น
สวัสดีครับ มาถึงตอนที่ 5 แล้วนะครับ สำหรับคอลัมน์สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ 4 หลังจากที่ห่างหายกันไปซักพัก จนมีเมล์ต่างๆมาอยากให้อาจารย์เขียนบทต่อๆไป วันนี้ก็เป็นโอกาสดีที่ได้มาเริ่มตอนที่ 5กันนะครับ ในครั้งนี้จะพูดถึงไวยากรณ์ในแบบไหน เราไปดูพร้อมๆกันเลยครับ
สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ N5 ตอนที่ 5
|
ในครั้งนี้เราจะมาพูดถึง ชุดไวยากรณ์ง่ายๆ ที่คนส่วนใหญ่มักจะแปลผิดพลาดกันนะครับ ซึ่ง จะออกข้อสอบบ่อยมากและใช้ในภาษาพูดทั่วไปด้วย แต่ถ้าใครได้เห็นมาครั้งนึงแล้ว ครั้งต่อๆไปก็จะสามารถแปลได้ไม่ผิดพลาดแล้วนะครับ ซึ่งชุดไวยากรณ์ที่ว่าก็คือ
S+が+Vた+N= N ที่ S นั้นๆกระทำใน Vนั้นๆ
|
** S=ประธานของประโยคที่เป็นคำนาม
พูดออกมาเป็นสูตร บางคนอาจจะงง อาจารย์จะยกตัวอย่าง พร้อมกับอธิบายสูตรนี้อย่างละเอียดนะครับ ลองมาดูกันเลย ตัวอย่างเช่นในข้อนี้
例:お母 |
สวัสดีครับ กลับมาพบกับคอลัมน์สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ 4 นะครับ มีหลายคนอีเมล์มาสอบถามอาจารย์ว่าอยากจะอ่านคอลัมน์สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ 4 ต่อ เพราะติดตามอ่านอยู่ตลอด ซึ่งมีอีเมลมาอย่างมากมาย อาจารย์ก็ดีใจนะครับที่มีคนติดต่ามอ่านคอมลัมน์มากขนาดนี้ คอลัมน์สอนภาษาญี่ปุ่นยังไม่ไปไหนนะครับ ยังจะอยู่ให้ความรู้อยู่ที่นี่ ต่อไปเรื่อยๆ และอาจารย์ก็จะพยายามมาอัฟเดทบ่อยๆ เพื่อทุกๆคนที่ศึกษาภาษาญี่ปุ่นนะครับ
สอนภาษาญี่ปุ่นระดับ N5 ตอนที่ 4
|
***จากประสบการณ์ในการสอนของอาจารย์พบว่า ส่วนใหญ่แล้ว นักเรียนจะผันกริยาให้เป็นรูป て、たไม่ค่อยคล่องกัน ซึ่งรูปて、たนี้เป็นรูปที่ถือว่าเป็นพื้นฐานอย่างมากในภาษาญี่ปุ่น ถ้าผันไม่ได้ การเรียนต่อยอดไปก็จะลําบากนะครับ
ดังนั้นอาจารย์จึงสรุปหลักการผันกริยาให้เป็นรูป て、たมาให้ดูและท่องจำให้ขึ้นใจกันอีกทีนะครับ
หลักการผันกริยาให้เป็นรูป て, たในกรณีที่เป็น V 1
V ที่ลงท้ายด้วย う,つ,る+っ+て/たเช่น まつàまって、まった
V ที่ลงท้ายด้วย く,ぐ+い+て/たเช่น みがくàみがいて、みがいた
V ที่ลงท้ายด้วย ぬ,ぶ,む+ん+で/だเช่น よむàよんで、よんだ
V ที่ลงท้ายด้วยすà Vます+て/たเช่น はなすàはなして、はなした
**หมายเหตุ ถ้า V ลงท้ายด้วย ぐจะต้องเปลี่ยนจาก て,たà で,だ
|
หลักการผันกริยาให้เป็นรูป て, たในกรณีที่เป็น V 1กันไปแล้ว คราวนี้เรามาลองมาฝึกผันกันดูเลยนะครับ
書(
Tags: สอนญี่ปุ่นN5อาจารย์แบงค์ | สอนภาษาญี่ปุ่นN5ตอนที่5 | สอนภาษาญี่ปุ่นในเวป
แก้ไขล่าสุด ใน วันพุธที่ 14 กันยายน 2011 เวลา 17:24 น.